|
|
|
|
|
|
|
แสนล้านเซลล์สมอง พัฒนาสู่มหัศจรรย์การเรียนรู้ไม่สิ้นสุด
จากการศึกษาพบว่า เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักสมองประมาณ 340 กรัม และมีเซลล์สมอง ประมาณแสนล้านเซลล์ แต่เซลล์เหล่านี้ยังเชื่อมโยงกันน้อย สมองของเด็กแรกเกิดจึงเหมือนกับห้องว่างๆ ที่ยังไม่ได้ตกแต่ง ยังมีข้าวของเครื่องใช้ไม่มากนัก เมื่อย่างเข้า 1 ปีแรก น้ำหนักสมองจะเพิ่มขึ้นเป็น 1,100 กรัม ซึ่งเพิ่มมากขึ้นถึง 3 เท่าตัว น้ำหนักสมองที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่น่าอัศจรรย์นี้เกิดจากเซลล์สมองขยายขนาด และสร้างเครือข่ายเส้นใยประสาทใหม่ๆ แตกแขนงเชื่อมต่อให้เกิดการสื่อสารระหว่างเซลล์สมองมากขึ้น และขณะที่สมองมีขนาดใหญ่ขึ้นนั้น ความสามารถในการเรียนรู้ ความจำ การใช้ภาษา ความคิด การใช้เหตุผลก็จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วย
สมองของทารกจะเริ่มสร้างเครือข่ายเส้นใยประสาทและจุดเชื่อมต่อต่าง ๆ อย่างมากมายและรวดเร็วถึง 80 % ในช่วงตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนถึง 3 ปีแรก หรือ 1,365 วันแรกของชีวิต และหากได้รับการส่งเสริมให้สมองสร้างการเชื่อมต่ออย่างเต็มที่แล้ว เมื่อเด็กอายุ 3 ปีสมองจะมีจำนวนเครือข่ายเส้นใยประสาทนับล้านล้านเครือข่าย นับล้านล้านจุดเชื่อมต่อ ซึ่งมากกว่าสมองผู้ใหญ่ถึง 2 เท่าทีเดียว
|
|
|
|
|
|
แม้ว่าเด็กทุกคนเกิดมามีสมองพร้อมสำหรับการเรียนรู้ และมีเซลล์สมองประมาณแสนล้านเซลล์ เท่าๆ กัน
แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจำนวนเซลล์สมองที่ว่านี้ จะทำให้เด็ก ทุกคนฉลาด มีการเรียนรู้เท่ากันเพราะสิ่งสำคัญอยู่ที่การ เชื่อมต่อของเซลล์สมอง หากเซลล์สมองไม่มีการเชื่อมต่อ ความฉลาดหรือการเรียนรู้ของเด็กจะมีน้อยกว่าเด็กที่ เซลล์สมองเชื่อมต่อกันมาก
ดังนั้น เพื่อให้เซลล์สมองแสนล้านเซลล์ของลูกน้อยเกิดการเชื่อมต่อ และพัฒนาสูงสุด คุณพ่อคุณแม่จึงต้องหาทางเสริมสร้างการเชื่อมต่อ ของเซลล์สมอง ซึ่งจากงานวิจัยพบว่าการให้ลูกได้รับโภชนาการที่ดี โดยเฉพาะการให้ลูกได้รับสารอาหารสำคัญอย่าง DHA และ ARA ในปริมาณที่เพียงพอ หรือ DHA Plus มีส่วนสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจาก มีงานวิจัยสนับสนุนถึง 4 ฉบับว่าช่วยเสริมสร้างสมองและพัฒนาการ ด้านต่างๆ ของเด็กได้อย่างแตกต่าง
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
เด็กที่ได้รับนมที่เสริม DHA และ ARA จะมีทักษะการแก้ปัญหาดีกว่า แสดงถึงการมีสมาธิ จดจำได้ และนำสิ่งที่เรียนรู้มาแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน |
|
|
|
|
|
|
เมื่อพูดถึงทักษะการแก้ปัญหา พ่อแม่ทุกคน ต่างต้องการให้ลูกเป็นเด็กที่แก้ปัญหาเก่ง |
|
|
|
|
|
ซึ่งเป็นคุณสมบัติสำคัญที่ต้องใช้ในการทำงานและดำเนินชีวิต แต่อาจยังไม่เข้าใจว่าเด็กเล็กๆ จะ |
มีปัญหาอะไรให้เขาต้องแก้ไขได้ จริงๆ แล้วเด็กๆ นั้น แม้กระทั่งเด็กทารกที่เราเห็นว่าเขากิน |
กับนอนเท่านั้น การแก้ปัญหาของเขาเกิดขึ้นมาแล้ว แต่จะเกี่ยวข้องกับเรื่องง่ายๆ ตามวัย |
|
|
|
ของเขาแต่ นั่นก็เป็นขั้นหนึ่งของพัฒนาการในวัยเล็ก ที่จะนำไปสู่การเรียนรู้อื่นๆ ในอนาคต
สำหรับเด็กวัยแรกเกิด-6 เดือนก็จะเกี่ยวข้องกับเรื่องคนดูแล เรื่องการกิน การนอน เป็นต้น เช่น ใช้การร้องไห้เพื่อแก้ปัญหาเมื่อเกิดความหิว หรือเมื่อต้องการให้คน เข้ามาสนใจ ใช้เท้าเตะขอบเตียงเพื่อให้โมบายที่แขวนอยู่เกิดเสียง เป็นต้น เหล่านี้คือการแก้ปัญหาของเด็กวัยทารก ซึ่งคือ การทำพฤติกรรม บางอย่างเพื่อให้ความต้องการของตนได้รับการตอบสนอง
ส่วนเด็กที่โตขึ้นมา การแก้ปัญหาก็อาจจะเป็นเรื่องการเล่น เช่น หาของเล่นที่ถูกซ่อนไว้ การคลานไปเอาของเล่นที่แม่กลิ้งออกไปไกลๆ การคิดหาวิธีเล่นกับของเล่นที่ได้มา เป็นต้น และเป็นเรื่องสำคัญยิ่งที่ คุณพ่อคุณแม่ต้องปล่อย ให้ลูกได้แก้ปัญหา เพราะเด็กที่ได้ใช้ความคิด แก้ปัญหา จะเติบโตเป็นเด็กที่คิดวิเคราะห์เก่งมีปัญหาใดๆ ก็สามารถ แก้ไขให้ลุล่วงได้ เพราะเขาได้ใช้ทักษะนี้มาตลอด
|
|
|
|
|
|
มีงานวิจัยพบว่า เด็กทารกที่ได้รับนมที่มี DHA 17 มก. และ ARA 34 มก./100 กิโลแคลอรี มีทักษะการแก้ปัญหาดีกว่าทารกที่ได้รับนมที่ไม่เสริม DHA และ ARA โดยเด็กสามารถดึงผ้าเข้าหาตัว เปิดผ้าที่คลุมของเล่นไว้ และพบของเล่นที่ถูกซ่อนไว้ (วัดที่อายุ 9 เดือน) |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
เด็กที่ได้รับนมที่เสริม DHA และ ARA มีความสามารถ ในการมองเห็น (Visual Acuity) ดีกว่า ซึ่งส่งให้เด็กเรียนรู้สิ่งรอบตัวได้เร็วขึ้น |
|
|
|
|
|
|
“เพราะการมองเห็นคือจุดเริ่มต้นที่ดี ของการเรียนรู้และความฉลาดของเด็ก” |
|
|
|
|
|
การมองเห็นเป็นความสามารถแรก ที่จะนำไปสู่พัฒนาการอื่นๆ เพราะลูกจะใช้ดวงตารับรู้ข้อมูล ทำให้เกิดความอยากรู้ อยากสัมผัสสิ่งที่เห็น มือ แขน ขา เคลื่อนไหวประสานกับสายตา ทำให้สมองเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องจากข้อมูลที่ได้รับ พบว่าข้อมูลต่างๆ ที่เด็กรับรู้มาจากการมองเห็นถึงกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ ที่สำคัญ เด็กๆ นั้นไม่ได้มองเห็นอย่างชัดเจนในทันทีที่ีเกิดมา ต้องอาศัยการกระตุ้นการมองเห็นของลูกน้อยให้เกิดการทำงาน
ยิ่งลูกน้อยมองเห็นมากเท่าใด ก็เท่ากับช่วยสะสมข้อมูล ต่างๆ เก็บไว้ในสมอง ก่อเกิดเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ เชื่อมโยงกันเป็นอย่างดี ส่งผลต่อความฉลาดของลูกน้อย ต่อไป
มีงานวิจัยพบว่า เด็กที่ได้รับนมที่มี DHA 17 มก. และ ARA 34 มก./100 กิโลแคลอรี มีการมองเห็น (Visual Acuity) ดีกว่าเด็กที่ได้รับนมที่ไม่เสริม DHA และ ARA (วัดที่อายุ 1 ปี)
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
เด็กที่ได้รับนมที่เสริม DHA และ ARA มี MDI Scores สูงกว่า ซึ่งช่วยให้เด็กมีแนวโน้มการเรียนรู้และความจำดี |
|
|
|
|
|
|
"สติปัญญามักจะมาคู่กับความฉลาด" |
|
|
พ่อแม่ทุกคนต่างต้องการให้ลูกเป็นเด็กฉลาด และ ความฉลาดกับพัฒนาการทางสมองมีความเชื่อม โยงกันอย่างแยกไม่ออก
เมื่อต้องการให้ลูกฉลาด คุณพ่อคุณแม่จึงต้องให้ความ สำคัญกับการพัฒนาสมอง ซึ่งทำได้ทั้งการดูแลจัดสภาพ แวดล้อมที่ดี เด็กๆ นั้นเรียนรู้สิ่งต่างๆ ผ่านประสาท สัมผัสทั้ง 5 นั่นคือ ตาดู หูฟัง ลิ้นรับรส จมูกดมกลิ่น และผิวรับสัมผัส
เพราะฉะนั้นสิ่งสำคัญคือ การให้ลูกได้มีประสบการณ์ใน การใช้ประสาทสัมผัสด้านต่างๆ ให้มากที่สุด จึงเป็นการพัฒนาระดับสติปัญญาให้ลูกได้ ที่สำคัญเด็กๆ ควรให้ลูก ได้รับสารอาหารที่ช่วยพัฒนาสมองอย่าง DHA และ ARA อย่างเพียงพอ เพื่อพัฒนาสมองและระดับสติปัญญา
|
|
|
|
|
|
มีงานวิจัยพบว่า เด็กที่ได้รับนมที่มี DHA 17 มก. และ ARA 34 มก./100 กิโลแคลอรี มีระดับสติปัญญา (MDI Score) สูงกว่าเด็กที่ได้รับนมที่ไม่เสริม DHA และ ARA ถึง +7 จุด (วัดที่อายุ 18 เดือน) |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
เด็กที่ได้รับนมที่เสริม DHA และ ARA มีคะแนนความสามารถทางภาษาสูงกว่า ซึ่งมีงานวิจัยอื่นสนับสนุนว่า พัฒนาการทางภาษาที่ดีตั้งแต่วัยแรกเริ่ม จะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อความสำเร็จด้านการศึกษาในอนาคตี |
|
|
|
|
|
|
"ภาษามีความสำคัญต่อคนเรามาก" |
|
|
นักวิทยาศาสตร์พบว่า พัฒนาการทางภาษาส่ง ผล ต่อพัฒนาการด้านอื่นๆ โดยรวมของเด็ก
เพราะภาษาช่วยเสริมสร้างความสามารถในการคิด และ การแก้ปัญหา ทั้งยังช่วยในการแสดงออก ทางอารมณ์และ ความรู้สึกด้วย และช่วงวัยขวบปี แรกเป็น ช่วงเวลาสำคัญ ในการสร้างรากฐานที่ มั่นคงสำหรับทักษะทางภาษา ในอนาคต
มีงานวิจัยพบว่า เด็กที่ได้รับนมที่มี DHA 17 มก. และ ARA 34 มก./100 กิโลแคลอรี มีความ สามารถทางภาษา ดีกว่าทารกที่ได้รับนมที่ไม่เสริม DHA และ ARA ถึง +6 จุด (วัดที่อายุ 4 ปี)*
|
|
|
|
|
|
นอกจากนี้ มีงานวิจัยที่สนับสนุนว่า พัฒนาการทางภาษาที่ ดีตั้งวัยแรกเริ่ม จะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อความสำเร็จด้าน การศึกษาในอนาคต |
|
|
|
|
|
|
|
|
|